การวางตำแหน่งคนคอมพิวเตอร์

ถ้าจะเปรียบการวางตำแหน่งคนคอมพิวเตอร์ ตามบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ ที่เขาควรจะทำ ก็ต้องเปรียบกับการวางตำแหน่งผู้เล่นในเกมฟุตบอล เพราะมองแล้วมันเข้าใจง่าย สามารถอธิบายความเข้าใจได้ในคราวเดียว ยกตัวอย่างเช่น …

แผนแบบ 4-4-2

แผนแบบ 4-4-2

แผนแบบ 4-3-3

แผนแบบ 4-3-3

แผนแบบ 4-5-1

แผนแบบ 4-5-1

แผนแบบ 3-4-3

แผนแบบ 3-4-3

แผนแบบ 3-5-2

แผนแบบ 3-5-2

แผนแบบ 2-3-5

แผนแบบ 2-3-5

โดยสรุปแล้วผมมองว่า “Programmer” เปรียบเสมือนกองหน้า ซึ่งมีหน้าที่ทำประตูสร้างคะแนนขึ้นมา …

ในขณะที่ “Software Analyst” หรือ “System Analyst” มีหน้าที่เป็นกองกลางซึ่งทำหน้าที่ในการป้องกัน รวมทั้งสร้างโอกาสให้กับการทำงาน …

ส่วน “หัวหน้าทีม” ก็เปรียบได้กับกองหลัง ผู้ซึ่งมีหน้าที่เช็คล้ำหน้า ไม่ให้อีกฝ่ายสามารถบุกทะลวงได้ อีกทั้งยังมีหน้าที่ในการเก็บบอล เพื่อส่งต่อให้กองกลางทำเกมต่อไป …

และสุดท้าย “ผู้จัดการ” ทำหน้าที่เป็นผู้รักษาประตู ซึ่งดูผิวเผินแล้วเหมือนสบายที่สุด แต่ถ้าหากโดนบุกระดมยิงเมื่อไหร่ ไอ้หมอนี่แหล่ะจะกระอักที่สุด และอาจจะต้องรับผิดชอบมากที่สุด เพราะเขาเหนือกว่าทุกคนในทีม เนื่องจากสามารถใช้ “มือ” รับลูกบอลได้ (แต่ดันรับไม่ได้ อะไรประมาณนี้)

ใครชอบการจัดวางคนแบบไหน ก็เลือกเอาแล้วกันครับ 😛

[tags]การวาง, ตำแหน่ง, คน, คอมพิวเตอร์[/tags]

Related Posts

7 thoughts on “การวางตำแหน่งคนคอมพิวเตอร์

  1. สิ่งที่ต่างจากโลกความเป็นจริงคือ กองหน้าดาวยิงส่วนมากค่าตัวไม่ได้ต่ำต้อยเหมือนโปรแกรมเมอร์น่ะสิ

  2. นั่นอ่ะดิคุณ AMp อิ อิ ^-^

    ในอนาคตข้างหน้า ผู้เขียนโปรแกรมในเมืองไทย จะมีค่าตัวสูงโคตร ๆ เลยครับคุณ crucifier (แต่เมื่อไหร่ไม่รู้นะ T-T)

    มีเยอะครับคุณ นายกอ อย่างบริษัทที่ผมรู้จักก็เช่น Accenture, IT-ONE, SIEMENS, Dellote พวกนี้เขามี SA อย่างเยอะ ส่วนคนเขียนโค้ดมีแค่คนหรือสองคนเอง

    ผู้รักษาประตู ก็คือคนที่ควบคุมต้นทุน อย่่างที่คุณเดียวเข้าใจนั่นแหล่ะ

    ก็เจ้าของบริษัทไงคุณ ตอร์เรส อิ อิ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *