อ้างถึง

หน้านี้เจ้าของบล็อกเอาไว้จัดเก็บรายชื่อของบทความ งานนิพนธ์ หรืองานวิจัย ซึ่งตีพิมพ์ในเล่มสารนิพนธ์ เล่มวิทยานิพนธ์ หรือตีพิมพืในงานประชุมวิชาการ หรือวารสารวิชาการ และมีการอ้างอิงหัวข้อในบล็อกแห่งนี้ครับ

  • กนก เลิศพานิช และ เลิศฤทธิ์ ทรัพย์เฉลิม. “ความคิดเห็นที่มีต่ออินโฟกราฟิกของเกษตรกรตำบลห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี”, 2556, คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง:ม.ป.ท. (อ้าง INFOGRAPHICS คืออะไร?)
  • รุจิพรรณ แฝงจันดาและคณะฯ. “ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสำหรับการพยากรณ์อัตราความชุก ของโรคไข้เลือดออกด้วยโครงข่ายประสาทเทียมแบบแพร่กลับในประเทศไทย”, งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (อ้าง การประยุกต์เครื่องในมนุษย์ ให้กลายเป็นโมเดลทางคอมพิวเตอร์)
  • เอ ดีหลี. “การเปรียบเทียบผลการพยากรณ์ราคาบิตคอยน์โดยใช้วิธีการวิเคราะห์การถดถอย โครงข่ายประสาทเทียม และการโปรแกรมเชิงพันธุกรรม”, มกราคม 2560, คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา (อ้าง GENETIC PROGRAMMING)
  • ประภาพร กุลลิ้มรัตน์ชัย. “การเข้าสู่ยุคของวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Entering into the Era of Data Science)”, EAU Heritage Journal Science and Technology, Vol. 12, No. 2, May-August 2018 (อ้าง DATA SCIENCE คืออะไร และ DATA SCIENTIST คืออะไร)
  • อนัตต์ชัย ชุติภาสเจริญ และ จรัญ แสนราช. “การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของอัลกอริทึมและการคัดเลือกคุณลักษณะที่เหมาะสมเพื่อการพยากรณ์โอกาสความสำเร็จในการโอนเงินข้ามประเทศของบุคคลทั่วไป (A Comparison of the Efficiency of Algorithms and Feature Selection Methods for Predicting the Success of Personal Overseas Money Transfer)”, KKU Research Journal of Humanities and Social Sciences (Graduate Studies), Vol. 6, No. 3, September-December 2018 (อ้าง ยกตัวอย่าง ทฤษฎีบทของเบย์)
  • พิเชษฎ์ จุลรอด และ ผุสดี นนทคำจันทร์. “การใช้โมเดลการทำนายข่าวปลอมจากสื่อสังคมออนไลน์ด้วยเทคนิคการทำเหมืองข้อมูล”, วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย, ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม 2563 (อ้าง ยกตัวอย่าง ทฤษฎีบทของเบย์)
  • เศกสิทธิ์ พจมาร. “การพัฒนาต้นแบบการบีบอัดแบบไม่สูญเสียข้อมูลบนเว็บแอปพลิเคชัน”, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, พฤษภาคม 2563 (อ้าง บีบ บีบ บีบ)
  • นิทัสน์ เจริญกิจ และ ก้องเกียรติ บูรณะศรี. “การพัฒนาศักยภาพด้านความแข็งแกร่งทางร่างกายสำหรับทหารกองประจำการ”, การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, วันที่ 8 – 9 กรกฎาคม 2564 (อ้าง GAP Analysis)
  • เข้าใจใน 5 นาที! Classification Model คืออะไร“, สถาบันนวัตกรรมและธรรมาภิบาลข้อมูล, วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 (อ้าง Multi-Class กับ Multi-Label)