เรามาดูกันดีกว่าว่าสาขาวิชา “วิทยาการคอมพิวเตอร์” ส่วนไหนบ้าง ที่เราจะนำไปใช้ได้ในภาคธุรกิจไทย โดยก่อนอื่น ผมขอลอกเอารายละเอียดมาจาก Wikipedia นะ แล้วเอามาแยกแยะเป็นหมวดหมู่แบบกระชับ เราก็จะพบว่า “วิทยาการคอมพิวเตอร์” เกี่ยวข้องกับเรื่องดังต่อไปนี้ …
- Theoretical Computer Science
- Mathematical Logic
- Automata theory
- Number Theory
- Graph Theory
- Type Theory
- Category Theory
- Computational geometry
- Quantum computing theory
- Theory of Computation
- Computability theory
- Computational complexity theory
- Cryptography
- Algorithm and data structures
- Analysis of algorithms
- Algorithms
- Data structures
- Computer elements and architecture
- Digital Logic
- Microarchitecture
- Multiprocessing
- Computational Science
- Numerical analysis
- Computational physics
- Computational chemistry
- Bioinformatics
- Artificial Intelligence
- Machine Learning
- Computer vision
- Image Processing
- Pattern Recognition
- Cognitive Science
- Data Mining
- Evolutionary Computation
- Information Retrieval
- Knowledge Representation
- Natural Language Processing
- Robotics
- Human–computer interaction
- Software Engineering
- Operating Systems
- Computer Networks
- Databases
- Computer Security
- Ubiquitous computing
- Systems architecture
- Compiler design
- Programming languages
แขนงวิชาที่เป็นตัวอักษรสีแดง คือ แขนงวิชาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่มีการใช้อย่างแพร่หลายในภาคธุรกิจไทย ส่วนแขนงวิชาที่เป็นสีแดงตัวหนา คือ แขนงวิชาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่นอกจากจะมีการใช้อย่างแพร่หลายในภาคธุรกิจไทยแล้ว ยังถือเป็นหัวใจสำคัญสำหรับการขับเคลื่อนระบบสารสนเทศของแต่ล่ะองค์กรด้วย
ดูแบบนี้แล้วก็น่าจะพอรู้แล้วเน้อะ ว่าถ้าเอา “วิทยาการคอมพิวเตอร์” ไปใช้หาเลี้ยงชีพ เราควรสนใจตัวไหน และถ้าเราจะเอา “วิทยาการคอมพิวเตอร์” มาใช้เพื่อทำงานอดิเรกสนุก ๆ เราควรจะสนใจตัวใด!!